สำหรับมือใหม่ที่เป็นเจ้าของรถยนต์คันแรกอาจไม่คุ้นเคยกับการคำนวณภาษีเพื่อต่อทะเบียนรถยนต์มาก่อน ไม่ทราบรถยนต์แต่ละประเภทคำนวณค่าภาษีอย่างไร วันนี้เรามาเช็กกันดีกว่าว่าต่อภาษีรถยนต์ราคากี่บาท ต้องทำอย่างไร และไปต่อภาษีที่ไหนได้บ้าง
ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักป้ายภาษีรถยนต์ ซึ่งเป็นป้ายกระดาษสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่ส่วนใหญ่จะติดไว้บนกระจกหน้ารถกัน แสดงว่ารถคันนั้นจ่ายภาษีรถยนต์ตามที่กฎหมายบังคับแล้ว เนื่องจากเจ้าของรถยนต์ทุกคันมีหน้าที่ทำการจ่ายค่า พ.ร.บ. รถยนต์ ก่อน หลังจากเก็บเอกสารการต่อ พ.ร.บ. เอาไว้เพื่อใช้ในการต่อภาษีรถยนต์ทุกปี เจ้าของรถทุกคันควรศึกษารายละเอียดในการคำนวณภาษีรถยนต์อย่างละเอียดด้วย
แม้ว่ากฎหมายจะไม่บังคับให้ต้องทำเหมือนการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ แต่การต่อภาษีรถก็เป็นเรื่องที่สำคัญมาก โดยคำนวณจากเครื่องยนต์และอายุรถยนต์ที่ใช้งาน ค่าใช้จ่ายคร่าว ๆ ก็ประมาณหลักพันบาท มาลองเช็กกันว่ารถที่เราใช้อยู่คิดค่าใช้จ่ายอย่างไร จะต่อภาษีรถยนต์ราคากี่บาท
สำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่นั่ง มีทั้งรถเก๋งและรถกระบะ ติดป้ายทะเบียนพื้นขาว ตัวหนังสือดำ คำนวณภาษีรถจากขนาดของเครื่องยนต์ ดังนี้
สำหรับรถยนต์ที่มีอายุการใช้งานมาหลายปีจะมีส่วนลดค่าภาษี ดังนี้
1. กรณีคำนวณต่อภาษีรถเก๋ง Honda City ขนาดเครื่องยนต์ 1,497 ซีซี. อายุการใช้งาน 7 ปี
ผลลัพธ์ทั้งสองรวมกัน เท่ากับ 1,645.5 บาท มีส่วนลด 20% จากอายุใช้งาน เท่ากับค่าต่อภาษีรถยนต์อยู่ที่ 1,316.4 บาท
2. กรณีคำนวณต่อภาษีรถกระบะ 4 ประตู Ford Ranger ขนาดเครื่องยนต์ 1,996 ซีซี. อายุการใช้งาน 9 ปี
ผลลัพธ์ทั้งสามรวมกัน เท่ากับ 300+1,800+784 = 2,884 บาท มีส่วนลด 40% เพราะเป็นรถยนต์ที่อายุใช้งาน 9 ปีขึ้นไป เท่ากับค่าต่อภาษีรถยนต์อยู่ที่ 1,730.4 บาท
สถานที่ต่อภาษีรถยนต์มีที่ไหนบ้าง
การทำประกันรถยนต์เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญ เมื่อทราบแล้วว่ารถของตนเองต้องต่อภาษีรถยนต์กี่บาท เจ้าของรถทุกคนสามารถซื้อประกันรถยนต์ และ พ.ร.บ.รถยนต์ ได้ ซื้อผ่านระบบออนไลน์ได้ง่าย ๆ ตลอด 24 ชั่วโมง เช็กเบี้ย พ.ร.บ. ได้ที่นี่!
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
สมรรถนะรถยนต์ไฟฟ้าเทียบเท่าได้กับรถยนต์ทั่วไป เหนือระดับด้วยความเป็น รถไฟฟ้า ev ประหยัดพลังงาน
หลายๆ คนที่ขับรถน่าจะรู้กันอยู่แล้วล่ะ ก่อนต่อภาษีรถยนต์ต้องต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ซะก่อน แต่ตรงขั้นตอนชำระภาษีใน dlt vehicle tax เนี่ยสิทำยังไง
ในยุคที่โลกดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน การทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ก็กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว รวมถึงการต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ที่ง่าย