การทำประกันภาคบังคับหรือที่เรารู้จักกันว่า พ.ร.บ. นั้น เป็นความจำเป็นที่บังคับด้วยตัวบทกฎหมายให้รถทุกคันต้องทำ พ.ร.บ. เพื่อที่ว่าเวลาประสบอุบัติเหตุได้รับบาดเจ็บจะได้ไม่เดือดร้อนเรื่องภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล พ.ร.บ.รถยนต์ราคา เท่าไร ให้ความคุ้มครองอะไรแก่ผู้ขับบ้าง และถ้าเกิดการบาดเจ็บจากรถขึ้นจริง ๆ จะเคลมได้ครอบคลุมครบจบทุกกรณีหรือไม่ มาหาคำตอบกันทีละข้อ เริ่มจาก
การทำ พ.ร.บ. แต่ละปีมีค่าใช้จ่ายเช่นเดียวกับการทำประกันอื่น แต่ พ.ร.บ.รถยนต์ราคา ไม่สูงมาก และมีอัตราแตกต่างกันไปตามประเภทของรถ
พ.ร.บ. เป็นการทำประกันรถภาคบังคับที่มีความสำคัญคือเป็นการคุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้นหลังจากเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้ว บริษัทประกันจะรับผิดชอบแทนโดยไม่จำเป็นต้องรอตัดสินความผิดก่อน ค่าใช้จ่ายที่สามารถเคลมได้ครอบคลุมทั้งสำหรับผู้ขับ ผู้โดยสาร และคู่กรณี
ในส่วนของผู้ขับ พ.ร.บ.รถ คุ้มครองอะไรบ้าง
สำหรับผู้อื่นที่นั่งมาในรถและคู่กรณี พ.ร.บ.รถ คุ้มครองอะไรบ้าง
ความคุ้มครองของ พ.ร.บ. รถจะครอบคลุมเฉพาะในส่วนของการรักษาดูแลบุคคลในรถและนอกรถที่เผอิญมาประสบเหตุด้วย แต่ พ.ร.บ. จะไม่ครอบคลุมในส่วนของตัวรถที่เสียหายต้องซ่อม อีกทั้งไม่ครอบคลุมในส่วนของทรัพย์สินมีค่าภายในรถ ดังนั้นปัญหาจึงอาจจะยังไม่จบหากรถของคุณยังไม่มีประกันอีกประเภทหนึ่งที่เรียกว่าประกันรถยนต์ภาคสมัครใจ ควรให้รถของคุณได้รับความคุ้มครองเพิ่มจากกรมธรรม์ประกันภัยอีก 1 ฉบับ เป็นการเผื่อไว้สำหรับกรณีเกิดอุบัติเหตุ สามารถเลือกแผนประกันที่เหมาะสมไปพร้อม ๆ กับ ซื้อ พ.ร.บ. รถยนต์ ออนไลน์ จากบริษัทประกันที่เดียวกันได้เลย
ท่านใดที่ซื้อรถใหม่หรือท่านที่ต้องการต่อ พ.ร.บ. ครั้งใหม่ Insurverse มีบริการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ที่สะดวก ประหยัดเวลา สามารถ ซื้อ พ.ร.บ. รถยนต์ ออนไลน์ ได้ที่นี่ พร้อมกับเลือกแผนประกันภัยรถยนต์ที่เหมาะกับการขับและรถของคุณได้ในคราวเดียวกัน เคลมง่าย เจ้าหน้าที่พร้อมเดินทางถึงที่เกิดเหตุอย่างรวดเร็วทันใจ
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
หลายๆ คนที่ขับรถน่าจะรู้กันอยู่แล้วล่ะ ก่อนต่อภาษีรถยนต์ต้องต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ซะก่อน แต่ตรงขั้นตอนชำระภาษีใน dlt vehicle tax เนี่ยสิทำยังไง
ในยุคที่โลกดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน การทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ก็กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว รวมถึงการต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ที่ง่าย
ทุกคนนน!! วันนี้มีเรื่องสำคัญมากๆ สำหรับเจ้าของรถทุกคนมาบอกต่อ! ซึ่งก็คือ เรื่องของการต่อประกันภัยภาคบังคับหรือที่เรียกติดปากว่าการต่อพ.ร.บ.