การทำประกันรถยนต์ภาคบังคับหรือ “พ.ร.บ.รถยนต์” ถือเป็นสิ่งสำคัญที่รถยนต์ทุกคันต้องมีตามกฎหมาย เพื่อคุ้มครองผู้ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ทั้งที่เป็นผู้ขับขี่และผู้โดยสาร แต่หากใครที่คิดว่าความคุ้มครองที่ได้จาก พ.ร.บ. รถยนต์ยังไม่เพียงพอก็สามารถทำประกันภาคสมัครใจเพิ่มเติมได้ แต่ก็มีหลายคนที่สงสัยว่าหาก รถ เกิด อุบัติเหตุ แล้วไม่มี พ.ร.บ. แต่มีประกันภาคสมัครใจ จะได้รับความคุ้มครองจากประกันหรือไม่ วันนี้เราจะพาไปหาคำตอบกัน
สำหรับรถยนต์ที่ไม่มี พ.ร.บ.รถยนต์ หรือไม่ได้ต่อ พ.ร.บ. ตามเวลาที่กำหนดจน พ.ร.บ. ขาดนั้นมีโทษปรับตามกฎหมาย รวมถึงจะไม่ได้รับความคุ้มครองจาก พ.ร.บ. และอาจมีผลต่อการเคลมประกันภาคสมัครใจ โดยความเสี่ยงของรถไม่มี พ.ร.บ. มีดังนี้
สำหรับใครที่ยังสงสัยว่า พ.ร.บ.รถ คุ้มครองอะไรบ้าง ก็ต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าความคุ้มครองของ พ.ร.บ. รถยนต์ พ.ศ. 2535 มีด้วยกัน 2 ชั้น ดังต่อไปนี้
สำหรับเอกสารที่ต้องในการยื่นเบิก พ.ร.บ. หลัง รถ เกิด อุบัติเหตุ กับบริษัทประกันที่เราซื้อ พ.ร.บ. หรือบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ มีดังนี้
ทั้งหมดนี้คือรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับความเสี่ยงของการไม่มี พ.ร.บ.รถยนต์ และความคุ้มครองของ พ.ร.บ. ที่เรานำมาฝากกันในวันนี้ และสำหรับใครที่ยังสงสัยว่า พ.ร.บ.รถ คุ้มครองอะไรบ้าง และอัตราค่าทำ พ.ร.บ. ของรถยนต์แต่ละประเภทอยู่ที่ปีละเท่าไหร่ สามารถเข้าไปศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของ Insurverse รวมถึงเช็กเบี้ยได้ที่นี่
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
พ.ร.บ. ประกันภัยภาคบังคับที่เจ้าของรถทุกคันต้องมี เพื่อคุ้มครองผู้เสียหายจากอุบัติเหตุไม่คาดฝัน ทั้งคนขับ ผู้โดยสาร และคู่กรณี รวมค่ารักษาพยาบาลและค่าชดเชยอื่น ๆ
การต่อภาษีรถยนต์เป็นหน้าที่ของคนมีรถยนต์ทุกคน โดยเราต้องต่อภาษีประจำปีและเตรียมเอกสารให้พร้อม ซึ่งรถแต่ละประเภท ก็จะเสียภาษีในราคาที่ต่างกันไปตามข้อกำหนด
สมรรถนะรถยนต์ไฟฟ้าเทียบเท่าได้กับรถยนต์ทั่วไป เหนือระดับด้วยความเป็น รถไฟฟ้า ev ประหยัดพลังงาน