ภาษีรถยนต์ประจำปี คือ ภาษีที่เจ้าของรถยนต์จะต้องชำระให้กับกรมการขนส่งทางบก โดยรถยนต์ทุกคันที่จดทะเบียนในประเทศไทยจะต้องเสียภาษีรถยนต์ประจำปี ซึ่งภาษีรถยนต์ประจำปีจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ภาษีรถยนต์ประจำปีสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลและภาษีรถยนต์ประจำปีสำหรับรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ โดยในวันนี้จะมาไขข้อข้องใจสำหรับการ ต่อ ภาษี รถยนต์ 4 ประตู ราคา แต่ละประเภทว่าทำไมจึงเสียภาษีไม่เท่ากัน และมีวิธีการคิดและคำนวณอย่างไร
สำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลที่มี 4 ประตู ได้แก่ รถเก๋งขนาดเล็ก, รถเก๋งขนาดกลาง, รถเก๋งขนาดใหญ่, รถกระบะ 4 ประตู แต่ละประเภทจะแบ่งแยกตามขนาดซีซีของเครื่องยนต์ได้แก่
สำหรับวิธีการคำนวณภาษีรถยนต์ 4 ประตู จะเป็นการคำนวณรถใหม่ที่อายุไม่เกิน 5 ปี ไม่ต้อง ตรวจ สภาพ รถ และเป็นรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง ซึ่งทางกรมการขนส่งทางบกมีวิธีการคำนวณแบ่งออกเป็น 3 ช่วงดังนี้
นั่นหมายความว่ารถยนต์ 1,200 ซีซี จะเสียภาษีเท่ากับ (0.5*600) + (1.5*600) = 1,200 บาท/ปี ในขณะที่รถกระบะ 4 ประตูที่มีเครื่องยนต์ 3,000 ซีซี จะเสียภาษีเท่ากับ (0.5*600) + (1.5*1200) + (4*1200) = 6,900 บาท
ในช่วงตั้งแต่ออกรถใหม่ป้ายแดงจนรถมีอายุ 5 ปี ไม่ต้อง ตรวจ สภาพ รถ อัตราภาษีจะคงตัว แต่เมื่อรถยนต์เริ่มเข้าสู่ปีที่ 6 จะได้ส่วนลดภาษีรถยนต์ประจำปีลงในทุก ๆ ปี ดังนี้
จะเห็นว่ารถยนต์ 4 ประตู แม้จะมีจำนวนประตูที่เหมือนกัน แต่ขนาดของเครื่องยนต์จะไม่เท่ากัน ทำให้การคำนวณอัตราภาษีแตกต่างกันตามจำนวนซีซีของแต่ละขนาดเครื่องยนต์ ดังนั้นเจ้าของรถยนต์ 4 ประตู จึงไม่ควรละเลยการต่อภาษีรถยนต์ เพราะจะทำให้เสียค่าปรับเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะรถที่มีจำนวนซีซีที่มาก เพื่อมิให้ผิดพลาดควรคำนวณภาษีรถยนต์และซื้อ พ.ร.บ.ก่อนไปต่อภาษีทุกครั้ง เพื่อจะได้ง่ายต่อการเสียภาษีและลดเวลาในการไปต่อภาษีลงด้วย ปัจจุบันหา ซื้อ พ.ร.บ. รถยนต์ ออนไลน์ ด้วยตัวเองง่าย ๆ ได้แล้วสำหรับเจ้าของรถยนต์ท่านใดสนใจ ซื้อ พ.ร.บ. รถยนต์ ออนไลน์ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดเกี่ยวกับความคุ้มครองและราคาได้แล้ววันนี้ที่เว็บไซต์ Insurverse หรือคลิกที่นี่เพื่อเช็กค่าเบี้ยด้วยตัวเองตลอด 24 ชั่วโมง
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
หลายๆ คนที่ขับรถน่าจะรู้กันอยู่แล้วล่ะ ก่อนต่อภาษีรถยนต์ต้องต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ซะก่อน แต่ตรงขั้นตอนชำระภาษีใน dlt vehicle tax เนี่ยสิทำยังไง
ในยุคที่โลกดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน การทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ก็กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว รวมถึงการต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ที่ง่าย
ทุกคนนน!! วันนี้มีเรื่องสำคัญมากๆ สำหรับเจ้าของรถทุกคนมาบอกต่อ! ซึ่งก็คือ เรื่องของการต่อประกันภัยภาคบังคับหรือที่เรียกติดปากว่าการต่อพ.ร.บ.