สายซิ่งรู้ไว้ ขับขี่ไม่มี พ.ร.บ. รถยนต์ ระวังมีความผิด เพราะกฎหมายกำหนดให้รถในประเทศไทยทุกคันต้องทำ พ.ร.บ. รถยนต์หากไม่ทำจะมีความผิดตามมาได้ และปัจจุบันการทำ พ.ร.บ. รถยนต์ไม่ใช่เรื่องยุ่งยากอีกต่อไป ทำได้ง่าย ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ เรามาดูกันดีกว่าว่า หากไม่ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์จะมีโทษแบบไหนกันบ้าง
แต่หากไม่เจอด่านหรือไม่ถูกตรวจสอบก็อย่าปล่อยให้ พ.ร.บ. รถยนต์หมดจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
หากถูกจับเพราะป้ายวงกลมหมดอายุ จะต้องเสียค่าปรับประมาณ 400-1,000 บาท และเมื่อไปต่อภาษีรถยนต์อีกครั้งก็จะโดนค่าปรับดอกเบี้ยอีกเดือนละ 1% และถ้าหากปล่อยทิ้งไว้นานเกิน 3 ปี ทะเบียนรถจะถูกระงับการใช้งานและโดนโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาทอีกด้วย
หาก พ.ร.บ. รถยนต์หมดอายุ จะไม่ได้รับการคุ้มครองค่าใช้จ่ายทุกอย่างของ พ.ร.บ. รถยนต์
ในกรณีที่เป็นฝ่ายผิด กองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถยนต์ จะทำการไล่เบี้ยคุณและบวกเงินเพิ่มอีก 20% พร้อมค่าปรับที่นำรถที่ไม่มี พ.ร.บ. มาใช้เป็นเงินไม่เกิน 10,000 บาท ตามข้อที่ 1
หากไม่ทำ พ.ร.บ. รถยนต์แล้วมีความผิด เรามาดูด้านตรงข้ามกันดีกว่า ว่าหากทำ พ.ร.บ. รถยนต์แล้วคุณจะได้อะไรบ้าง
ทำให้คุณไม่ถูกปรับและไม่มีความผิดในด้านกฎหมายอีกด้วย ให้คุณชับขี่ได้อย่างอุ่นใจ
เพราะ พ.ร.บ. รถยนต์มีอายุ 1 ปีเช่นเดียวกับ ภาษีรถยนต์ การต่อ พ.ร.บ. รถยนต์และภาษีรถยนต์จึงทำด้วยกันเป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องกัน แล้วต่อที่ไหนถึงจะคุ้มที่สุดเรามาดูกัน
ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ออนไลน์ง่าย ๆ ได้ตลอด 24 ชม. กับทาง insurverse ซึ่งได้ราคาที่ถูกกว่าการต่อกับที่อื่นอย่างแน่นอน
ให้คุณหมดกังวลเรื่อง พ.ร.บ. รถยนต์ ขับขี่ได้อยากอุ่นใจ มีการคุ้มครองในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุอย่างแน่นอน
พ.ร.บ. รถยนต์หากขาดการต่ออายุ มีโทษตามมามากมาย ซึ่งอาจทำให้คุณพลาดการคุ้มครองเรื่องเงินเมื่อเกิดอุบัติเหตุอีกด้วย คุณจึงควรต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ของคุณทุกปี เพื่อรักษาสิทธิ์ของคุณไว้เป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญที่สุด สำหรับผู้ที่ขับขี่รถยนต์ทุกคน
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
สมรรถนะรถยนต์ไฟฟ้าเทียบเท่าได้กับรถยนต์ทั่วไป เหนือระดับด้วยความเป็น รถไฟฟ้า ev ประหยัดพลังงาน
หลายๆ คนที่ขับรถน่าจะรู้กันอยู่แล้วล่ะ ก่อนต่อภาษีรถยนต์ต้องต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ซะก่อน แต่ตรงขั้นตอนชำระภาษีใน dlt vehicle tax เนี่ยสิทำยังไง
ในยุคที่โลกดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน การทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ก็กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว รวมถึงการต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ที่ง่าย