เป็นที่ทราบกันดีว่าการจะออกรถใหม่สักหนึ่งคัน หากผู้ซื้อยื่นขอสินเชื่อแล้ว ดันมีคุณสมบัติทางการเงินที่ไม่ตรงตามเกณฑ์ ส่วนใหญ่ก็จะต้องใช้ผู้ค้ำประกันเข้ามาเพิ่มความน่าเชื่อถือ เพื่อให้มีโอกาสที่จะธนาคาร หรือไฟแนนซ์จะอนุมัติได้ง่ายขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความกระอักกระอ่วนใจให้กับทุกฝ่าย ทั้งผู้ซื้อและผู้ค้ำ ผู้ซื้อเองก็เกิดอาการทำตัวไม่ถูกทุกครั้ง เมื่อต้องขอความช่วยเหลือให้ใครมาค้ำสักหนึ่งคน ส่วนผู้ที่จะต้องไปค้ำให้ ก็ยิ่งคิดหนักเข้าไปใหญ่ ว่าจะต้องมาแบกรับภาระหนี้สิน ที่ตัวเองไม่ได้เป็นคนก่อในภายหลังหรือเปล่า
แต่สำหรับปัจจุบันนี้ ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิดแล้ว เพราะข้อบังคับใช้ของการ ค้ํา ประกันรถยนต์ กฎหมายใหม่ ถูกแก้ไขและผลักดัน ให้คุ้มครองปกป้องสิทธิของผู้ค้ำอย่างครอบคลุมมากขึ้น สิ่งที่สร้างความสับสนให้กับคนที่เพิ่งมีรถคันแรกพอสมควร คงจะเป็นเรื่องของ ประกันรถยนต์ มากกว่า ซึ่งเป็นส่วนเพิ่มเติมที่จะเข้ามาดูแลเรื่องอุบัติเหตุ ยังคงมีผู้ที่ไม่มั่นใจว่าหากจะซื้อ ประกันรถยนต์ นั้น สามารถดำเนินการซื้อได้เลยทันทีหรือไม่ ต้องมีผู้ค้ำเข้ามาเกี่ยวข้องอีกหรืออย่างไร เราจะมาไขข้อข้องใจให้ในวันนี้
การทำ ประกันรถยนต์ ถือเป็นเรื่องที่ใครหลายๆ คนให้ความสำคัญรองลงมา หลังจากที่ได้ครอบครองรถในฝันเรียบร้อยแล้ว แต่ก็ยังคงมีผู้คนบางส่วน ที่มองว่าจะต้องดำเนินการยุ่งยากอีกแล้วหรือ ต้องหาคนมาค้ำประกันอีกหรือไม่ เอาล่ะ ขอย้ำกันตรงนี้ชัดๆ เลยว่า “หากจะซื้อ ประกันรถยนต์ ซื้อได้เลย ไม่ต้องมีคนค้ำใดๆ” เลือกตามงบประมาณ และเงื่อนไขความคุ้มครองที่คิดว่าตอบโจทย์ตัวเองที่สุด หลังจากนั้นก็จัดเตรียมเอกสารดังนี้
ในส่วนของการต่อประกัน สิ่งที่ต้องเตรียมก็คือ สำเนากรมธรรม์ฉบับปัจจุบันที่กำลังจะหมดอายุ อย่างเดียวเท่านั้น
จะเห็นได้ว่าการ ค้ํา ประกันรถยนต์ กฎหมายใหม่ นั้น เกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนของการออกรถเท่านั้น เมื่อเริ่มต้นตัดสินใจซื้อประกัน เพื่อคุ้มครองในกรณีที่อาจเกิดอุบัติโดยไม่คาดฝัน เจ้าของรถสามารถดำเนินการได้ทันที ไม่ต้องมีคนค้ำ เลือกบริษัทที่ใช่ เงื่อนไขกรมธรรม์ที่ชอบ อนุมัติด่วนจี๋ เอกสารที่จะต้องใช้ก็ไม่ได้ยุ่งยาก จะจ่ายสดหรือผ่อนชำระก็เลือกได้ ตอบโจทย์ผู้ใช้รถทั่วประเทศ
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
การทำประกันไม่ว่าจะเป็นประกันชีวิตหรือประกันวินาศภัย กลายเป็นเรื่องธรรมดาที่หลายคนเริ่มให้ความสำคัญมากขึ้นในยุคนี้ บางคนมีประกันหลายฉบับ บางคนทำไว้หลายบริษัท พอทำประกันไว้หลายฉบับ หลายบริษัท หลายปีติด ๆ กัน แล้วเล่มหายหรือจำไม่ได้ว่าทำไว้กับใคร ปัญหาเริ่มมาแบบไม่ทันตั้งตัว โชคดีที่ทุกวันนี้สามารถเช็คกรมธรรม์จากเลขบัตรประชาชนได้แล้ว ไม่ต้องไปขุดหาเอกสารเก่า ไม่ต้องโทรถามใครให้ยุ่ง
เวลาเกิดอุบัติเหตุแล้วบริษัทประกันของอีกฝ่ายโทรมาเรียกเก็บค่าซ่อม ใครไม่เคยเจอก็อาจจะคิดว่า “ก็แค่จ่ายไปสิ” แต่พอถึงเวลาจริง บางเคสค่าซ่อมอาจพุ่งไปถึงหลักแสนแบบไม่ทันตั้งตัว แถมบางคนไม่มีเงินก้อนพร้อมจ่ายทันที ก็เลยกลายเป็นคำถามยอดฮิตว่า ถ้าไม่มีเงินจ่าย ประกันเรียกค่าซ่อมแบบนี้ ผ่อนได้ไหม? แล้วจะคุยกับประกันยังไงให้ไม่โดนฟ้อง ต้องเตรียมตัวยังไงบ้างให้รอดจากสถานการณ์สุดเครียดนี้ทุกมุม มาหาคำตอบแบบไม่ต้องมโนกันในบทความนี้ดีกว่า การเลือกประกันรถยนต์ที่เข้าใจคนขับจริง ๆ เลยเป็นเรื่องสำคัญ โดยเฉพาะ ประกันรถยนต์ชั้น 1 ที่ให้เลือกความคุ้มครองเองได้ตามงบอย่าง insurverse ที่ช่วยให้ไม่ต้องจ่ายเบี้ยเกินจำเป็น แถมยังซื้อตรงไม่ผ่านตัวแทน ถูกจริงตั้งแต่แรก ไม่มีเงินจ่ายค่าซ่อมในทันที ทำไงดี ถ้าบริษัทประกันเรียกเก็บค่าซ่อมจากคู่กรณีที่เป็นฝ่ายผิด แล้วคนคนนั้นไม่มีเงินจ่ายเต็มจำนวน ไม่ต้องรีบจ่ายทันทีแบบหน้ามืดตามัว เพราะสามารถขอเจรจากับบริษัทประกันได้ตรง ๆ ว่าจะขอผ่อนจ่ายเป็นงวดได้ไหม ซึ่งประกันหลายเจ้าก็พร้อมรับฟัง ถ้ามีเหตุผลและความจริงใจที่จะจ่ายจริง วิธีนี้เรียกว่า การประนอมหนี้ คล้าย ๆ กับการตกลงกันว่า จะผ่อนเท่าไหร่ กี่งวด แล้วต้องมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หรือบันทึกไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกัน และป้องกันปัญหาในอนาคต แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละบริษัท ประกันของตัวเองช่วยอะไรได้บ้าง ในบางเคส คนที่เป็นฝ่ายผิดก็ยังมีประกันรถยนต์ของตัวเองอยู่ แบบนี้สบายใจได้ในระดับนึง เพราะประกันของเราจะเข้ามาช่วยดูแลค่าซ่อมในส่วนที่ครอบคลุมไว้ตามเงื่อนไขในกรมธรรม์ แต่ต้องไม่ใช่เคสที่เข้าข่ายถูกตัดสิทธิ เช่น เมาแล้วขับ หรือใช้รถผิดประเภท… Continue reading ประกันเรียกเก็บค่าซ่อม ผ่อนได้ไหม? รู้ทันทุกขั้นตอนก่อนโดนฟ้อง คุยจบ เคลียร์ได้ ไม่ต้องหนี
กรมธรรม์ คือ เอกสารสัญญาสำคัญระหว่างผู้เอาประกันกับบริษัทประกันภัย โดยจะระบุความคุ้มครองที่จะได้รับเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน และเงื่อนไขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง