เจ้าของรถยนต์มือใหม่ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พ.ร.บ.รถยนต์ หรือประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับที่กฎหมายกำหนดให้รถทุกคันต้องมี เพื่อเป็นหลักประกันว่าผู้ขับขี่จะได้รับความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลในกรณีได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ทั้งยังเป็นหลักฐานที่จำเป็นต่อการต่อ ประกัน รถยนต์ ด้วย ซึ่งหลายท่านมักมีข้อสงสัยตามมาว่า การซื้อ พ.ร.บ.รถยนต์ จากบริษัทประกันแต่ละรายแตกต่างกันหรือไม่
เรามาทำความเข้าใจกันก่อนว่า พ.ร.บ. รถยนต์เป็นประกันภัยภาคบังคับที่ไม่ทำไม่ได้ ช่วยให้โรงพยาบาลอุ่นใจว่ามีวงเงินพร้อมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในกรณีผู้เสียหายบาดเจ็บเข้ารักษาในโรงพยาบาลได้ โดยจะซื้อ พ.ร.บ.รถยนต์ราคา เท่าใด กับบริษัทประกันภัยรายไหนก็เหมือนกัน กำหนดวงเงินคุ้มครองเอาไว้อย่างชัดเจนเหมือนกันหมด เว้นแต่บริษัทประกันบางรายอาจบวกค่าธรรมเนียมเพิ่ม ก็จะมีค่าใช้จ่ายส่วนนี้แพงกว่าที่อื่น ๆ
อย่างไรก็ตาม พ.ร.บ. รถยนต์ จะคุ้มครองเฉพาะบุคคลเท่านั้น แต่ไม่คุ้มครองตัวรถยนต์ กล่าวคือถ้ามีแต่ พ.ร.บ. เพียงอย่างเดียว เวลาเกิดอุบัติเหตุขึ้น เจ้าของรถต้องจ่ายค่าซ่อมรถทั้งหมดด้วยตัวเอง ในทางกลับกันหากทำประกันรถยนต์ควบคู่ไปด้วยก็จะดีมาก เพราะคุ้มครองทั้งรถทั้งคน หลังจากชำระเงินเรียบร้อยก่อนประกันตัวเดิมจะหมดอายุ ประกันรถยนต์ใหม่ก็จะคุ้มครองต่อเนื่องทันที
เมื่อถามถึงรายละเอียดของ พ.ร.บ. รถยนต์ ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้ว บริษัทประกันจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ค่าเสียหายเบื้องต้น และค่าเสียหายส่วนเกิน มีรายละเอียดดังนี้
โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ว่าฝ่ายใดถูกหรือผิด ดังนี้
กรณีพิสูจน์แล้วว่าผู้ขับขี่ฝ่ายเราไม่ได้ทำผิด สามารถเรียกร้องค่าเสียหายส่วนเกินจากอีกฝ่ายที่ทำผิดได้ ดังนี้
สำหรับ พ.ร.บ.รถยนต์ราคา เท่ากัน กฎหมาย ได้กำหนดวงเงินคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลเอาไว้อย่างชัดเจน ฝ่ายบริษัทประกันจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายให้ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ แตกต่างจาก ประกัน รถยนต์ ซึ่งเป็นประกันภาคสมัครใจ จะเลือกทำหรือไม่ทำกับบริษัทประกันภัยรายเดียวกันก็ได้ ทุกวันนี้มีประกันให้เลือกหลายแบบ ถือว่ามีตัวเลือกค่อนข้างกว้างทีเดียว เรื่องการจ่ายเงินและความยากง่ายในการเคลมประกันก็ต่างกันอยู่บ้าง
1. เวลามีเหตุต้องเคลมประกันจะทำได้ง่าย ไม่ต้องแจ้งประสานงานกับหลายบริษัทและยื่นเอกสารหลายที่
2.ไม่ต้องเสียเวลาเล่าถึงเหตุการณ์ซ้ำ ๆ
3.เบิกเคลมค่าชดเชยและค่ารักษาพยาบาลรวดเร็วกว่า
4.ซื้อ พ.ร.บ.รถยนต์ และประกันภัยพร้อมกัน ไม่ต้องจำวันหมดอายุหลายฉบับ ตรวจสอบข้อมูลได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
หากท่านที่ต้องการต่ออายุ พ.ร.บ.รถยนต์ ประจำปีและทำประกันรถไปด้วย แนะนำให้ทำควบคู่กันไปในบริษัทเดียวกันไปเลย แนะนำให้ปรึกษากับ อินชัวร์เวิร์ส https://insurverse.co.th/ แจ้งทีเดียวจบ ไม่ต้องเสียเวลาดำเนินการ 2 รอบ ไม่มีปัญหาในอนาคต เช็กเบี้ยได้เลยที่นี่!
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
หลายๆ คนที่ขับรถน่าจะรู้กันอยู่แล้วล่ะ ก่อนต่อภาษีรถยนต์ต้องต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ซะก่อน แต่ตรงขั้นตอนชำระภาษีใน dlt vehicle tax เนี่ยสิทำยังไง
ในยุคที่โลกดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน การทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ก็กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว รวมถึงการต่อพ.ร.บ.ออนไลน์ที่ง่าย
ทุกคนนน!! วันนี้มีเรื่องสำคัญมากๆ สำหรับเจ้าของรถทุกคนมาบอกต่อ! ซึ่งก็คือ เรื่องของการต่อประกันภัยภาคบังคับหรือที่เรียกติดปากว่าการต่อพ.ร.บ.