บทความนี้จะพามาหาคำตอบทุกคำถามเกี่ยวกับ พ.ร.บ.รถยนต์ ไม่ว่าจะเป็นเงื่อนไขความคุ้มครอง , การเรียกสินไหมจากพ.ร.บ.กรณีเสียชีวิตทั้งแบบมีคู่กรณีและไม่มีคู่กรณี รวมถึงค่าใช้จ่ายในการต่อพ.ร.บ.
การทราบข้อมูลว่า พ.ร.บ.รถ คุ้มครองอะไรบ้าง เป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับผู้ที่เป็นเจ้าของรถยนต์ เนื่องจากการต่อพ.ร.บ.ทุกปี ไม่เพียงแต่เป็นการทำตามกฎหมายจราจรเท่านั้น แต่ยังเป็นสิ่งที่ช่วยบรรเทาความสูญเสียเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
ทั้งนี้ การเบิกค่าสินไหม พ.ร.บ.รถยนต์ ทั้ง 3 ข้อข้างต้น เป็นการเบิกค่าสินไหมโดยยังไม่ต้องพิสูจน์ความผิดว่ามีคู่กรณีหรือไม่, ฝ่ายไหนเป็นฝ่ายผิด หรือฝ่ายถูก แต่หลังจากที่พิสูจน์ความจริงแล้วบริษัทประกันของฝ่ายที่ผิดจึงดำเนินการชดใช้ค่าเสียหายให้คู่กรณี โดยค่าสินไหมเพิ่มเติมที่ผู้เป็นฝ่ายผิดจะต้องชดเชยให้กับผู้ประสบภัย มีดังนี้
สำหรับวิธีเรียกค่าสินไหมจาก พ.ร.บ. หากผู้ประสบเหตุไม่สามารถดำเนินการเบิกค่ารักษาพยาบาลด้วยตัวเองได้ สามารถมอบอำนาจให้โรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษาเป็นผู้รับแทนได้ ในส่วนของการติดต่อเข้ารับค่าสินไหมด้วยตัวเองสามารถติดต่อได้ที่บริษัทที่ทำประกันรถยนต์เอาไว้ หรือกรณีที่ไม่ได้ต่อประกันภาคสมัครใจ ก็สามารถติดต่อได้ที่บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถสาขาที่ใกล้ที่สุด โดยเตรียมเอกสารสำคัญสำหรับเบิกค่าสินไหม แบ่งออกเป็น 3 กรณี ดังนี้
การแบ่งค่าใช้จ่ายในการต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ราคา เท่าไหร่นั้นขึ้นอยู่กับประเภทของรถยนต์ ดังนี้
ค่าต่อ พ.ร.บ. อาจเปลี่ยนไปตามสถานที่ให้บริการต่อทะเบียนรถ หรือประกันภัยแต่ละแห่ง
การต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ ทุกปี ไม่ปล่อยให้ขาดอายุ เป็นสิ่งที่ช่วยบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากรถได้ หากไม่รู้ว่าจะต่อ พ.ร.บ. หรือประกันรถยนต์ที่ไหนดี แนะนำ Insurverse ช่วยอำนวยความสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อ พรบ ออนไลน์และประกันรถยนต์ เช็กเบี้ยเลย!
check_circleคัดลอกลิงก์เรียบร้อย
ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ เป็นประจำทุกปีนั้นเป็นสิ่งที่จะสร้างความอุ่นใจ แต่หากลืมว่าทำ พ.ร.บ. รถยนต์ กับที่ไหน หมดอายุเมื่อไหร ตรวจสอบได้ดังนี้
ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์กี่บาท? ราคาเท่าไหร่? คำตอบขึ้นอยู่กับประเภทรถยนต์ เช่น รถเก๋ง 499 บาท รถกระบะ 799 บาท รถตู้ราคา 999 บาท ราคาถูกชัวร์แบบนี้ต้องที่ insurverse
พ.ร.บ. รถยนต์ หรือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เป็นประกันภาคบังคับที่เจ้าของรถทุกคันต้องทำ ซึ่งให้ความคุ้มครองผู้ประสบภัยไม่ว่าจะเป็นฝ่ายถูกหรือผิด